Job burnout and associated factors among nurses in Nopparat Rajathani hospital

Authors

  • Kittipol Praisuthirat Occupational and environmental medicine center, Nopparat Rajathani hospital
  • Aurapan Chaimanee Occupational and environmental medicine center, Nopparat Rajathani hospital

Keywords:

Burnout, Nurse, ความเหนื่อยหน่ายจากการทำางาน, พยาบาล

Abstract

Introduction:  Objective was to examine the level of burnout and associated factors among nurses in Nopparat Rajathani hospital.

Method: A cross-sectional descriptive study including 358 nurses in Nopparat Rajathani hospital was conducted between February 23 2015 and April 30 2015. Data from Thai version of Maslach burnout inventory (MBI) questionnaire were analyzed using independent sample t-test and Chi-square test.

Result: Among 358 nurses, 42.2% had a low level of emotional exhaustion, 67.6% had a low level of depersonalization and 98.0% had a high level of personal accomplishment. Burden of burnout significantly increased with decreasing age and years of practice (p < 0.05). Moreover, a higher likelihood of burnout was associated with operational level, lack of consultants, intention to quit the job, unsatisfactory relations with superiors, income dissatisfaction, increased work hours, high workload and poor work environment.

Discussion and Conclusion: Appropriate intervention should be targeted at younger nurses. In addition, improvement of working conditions and environment is needed to reduce the burden of job burnout in nurses.

บทนำ: วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในพยาบาลโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

วิธีการศึกษา: เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบสำารวจภาคตัดขวาง โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษา คือ พยาบาลที่ปฏิบัติงาน อยู่ในโรงพยาบาลนพรัตนราชธานี จำานวน ๓๕๘ คน ทำาการเก็บข้อมูลตั้งแต่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ถึง ๓๐ เมษายน ๒๕๕๘ โดยใช้แบบสอบถามร่วมกับแบบวัดภาวะความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานของแมสลาช (Maslach Burnout Inventory) ฉบับภาษาไทย นำามาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับภาวะความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานระดับสูงในแต่ละด้าน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ Independent sample t-test และ Chi-square test

ผลการศึกษา: พยาบาลมีภาวะความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานด้านความอ่อนล้าทางอารมณ์อยู่ในระดับต่ำา ร้อยละ ๔๒.๒ มีการลดความเป็นบุคคลอยู่ในระดับต่ำา ร้อยละ ๖๗.๖ และมีความสำาเร็จส่วนบุคคลระดับสูง ร้อยละ ๙๘ พยาบาลที่มีความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานสูงมีอายุและประสบการณ์การทำางานน้อยกว่าผู้ที่มีความเหนื่อย หน่ายจากการทำางานต่ำาอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ และพยาบาลที่มีความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานสูงยังพบว่าปฏิบัติงานในระดับปฏิบัติการ ไม่มีที่ปรึกษา มีความคิดออกจากงาน มีสัมพันธภาพไม่ดีกับผู้บังคับบัญชา ไม่พอใจค่าตอบแทน มีระยะเวลาการทำางานไม่เหมาะสม มีภาระงานและสภาพแวดล้อมการทำางานที่ไม่เหมาะสม มากกว่าผู้ที่มีความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานต่ำา

วิจารณ์ และสรุปผลการศึกษา: การเ½้าระวังในกลุ่มที่อายุน้อยและมีประสบการณ์น้อย การดูแลสภาพการทำางานและสิ่งแวดล้อมในที่ทำางานให้เหมาะสมจะช่วยป้องกันภาวะความเหนื่อยหน่ายจากการทำางานของพยาบาลได้

Downloads

Published

2016-06-30

Issue

Section

Original Articles